Saturday, 6 August 2022

ผลเลือด non reactive แปลว่าอะไร ในการตรวจเลือดเพื่อหาเชื้อเอชไอวีนั้น เป็นวิธีที่ส่วนใหญ่ในปัจจุบันนิยมทำกัน และวิธีที่ใช้ในการตรวจคัดกรองก็จะนิยมแบบ ตรวจ ANTI-HIV คือการตรวจหาภูมิคุ้มกันจำเพาะต่อเชื้อเอชไอวี โดยส่วนใหญ่สามารถตรวจได้เมื่อเสี่ยงมาแล้วกว่า 3-4 สัปดาห์ และให้ผลที่แม่นยำมากขึ้น เมื่อเสี่ยงมาเกิน 1 เดือน เนื่องจากพ้นระยะฟักตัว หรือที่เรียกว่า Window period นอกจากการตรวจแบบ ANTI-HIV แล้ว ยังมีวิธีการตรวจแบบอื่นๆ อีกประมาณ 3 วิธีหลักๆ ได้แก่ 1. ตรวจ p24 Antigen เป็นการตรวจหาโปรตีน p24 ของเชื้อเอชวี สามารถตรวจได้เมื่อรับความเสี่ยงมาประมาณ 2 สัปดาห์ ข้อเสียของการตรวจวิธีนี้ คือ ผลตรวจถูกรบกวนได้ง่ายจากปัจจัยต่างๆ อีกทั้งหากตรวจพบว่าเป็นต้องมีการตรวจซ้ำอีกครั้ง 2. การตรวจ NAT สามารถตรวจได้ตามโรงพยาบาล และเป็นวิธีที่ใช้กันอย่างไม่แพร่หลายเท่าไหร่นัก สามารถตรวจได้เมื่อรับความเสี่ยงมาประมาณ 1 สัปดาห์ 3.

สมาคมโรคติดเชื้อในเด็กแห่งประเทศไทย on Mobile

  1. The Great Wall (2016) เดอะ เกรท วอลล์ พากย์ไทย - ดูหนังออนไลน์ฟรี netflix พากย์ไทย เต็มเรื่อง ไม่มีโฆษณา หนังใหม่ 2021
  2. โปรแกรมอ่านแปลผลการตรวจเลือดและปัสสาวะเบื้องต้น - คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
  3. สมัครงาน หางาน งาน BMW (Thailand) Company Limited - มี 0 ตำแหน่ง | JobCute
  4. กระเป๋า คา วิน คาย
  5. Minecraft acid island server ไทย
  6. สมาคมโรคติดเชื้อในเด็กแห่งประเทศไทย on Mobile
  7. Downton abbey เรื่องย่อ
  8. ข้อมูลสมุนไพร

เป็นการตรวจที่ใช้คัดกรองโรคซิฟิลิสทั้งชนิดปฐมภูมิ และทุติยภูมิ (Venereal Disease Research Laboratory test (VDRL) - Thailand Hospital Online

9-20. 2 การกรองของไต (Creatinine. ) 0. 84-1. 24 กรดยูริก (Uric. ) 3. 6-8. 2 โคเลสเตอรรอล (Cholesterol. ) 0-200 ไตรกลีเซอไรด์ (Triglyceride. ) 0-150 ไขมันดี (HDL-Cholesterol. ) 30-70 ไขมันร้าย (LDL-Cholesterol. ) 25-160 เอนไซม์ตับ (SGOT) 0-35 เอนไซม์ตับ (SGPT) 0-45 การทำงานของตับ (Alk. ) 30-120 ฮอร์โมนเพศชาย 1. 42-9. 23 ภูมิคุ้มกันวิทยา เชื้อไวรัสตับอักเสบบี (HBsAg. ) ภูมิคุ้มกันไวรัสตับอักเสบบี (Anti-HBs) ภูมิคุ้มกันไวรัสตับอักเสบซี (Anti-HCV) เชื้อซิฟิลิส (VDRL. ) ผลคัดกรองมะเร็งลำไส้ (CEA. 0-5. 0 ผลคัดกรองมะเร็งตับ (AFP. ) 0-15 ผลคัดกรองมะเร็งต่อมลูกหมาก (PSA. 0-4. 0

นายแพทย์สุรภัทร อัศววิรุฬหการ ผศ. นพ. ชนเมธ เตชะแสนสิริ หน่วยโรคติดเชื้อ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ทารกแรกเกิดเพศชาย G1 GA 32 weeks คลอดด้วยวิธีธรรมชาติ น้ำหนักแรกเกิด 1, 200 กรัม Apgar score ที่ 5 และ 10 นาที ได้ 8 และ 9 มารดาอายุ 15 ปี มีประวัติตรวจ serology test พบ VDRL reactive 1:4, FTA-ABS reactive, HBs Ag negative และ Anti-HIV non-reactive วินิจฉัยเป็น Latent syphilis ได้รับการรักษาด้วย Benzathine penicillin G 2. 4 mU IM เพียง 2 ครั้งก่อนคลอดบุตร Physical examination Vital signs: BT 36. 7°C, PR 138/min, RR 68/min, BP 70/34 mmHg, BW 1, 200 g, Length 35 cm, HC 25 cm GA: A Thai male newborn, active HEENT: AF 2x2 cm, no low set ear, no saddle nose, no nasal discharge, no cervical lymphadenopathy Heart: normal S 1, S 2; no murmur Lungs: no chest retraction, equal breath sound, no adventitious sound Abdomen: soft, liver 3 cm BRCM, spleen not palpable, no other palpable mass Skin: desquamation at legs and feet Neurological examination: move all limbs equally Investigation CBC: Hb 12.

Vdrl แปลผล

ทารกแรกเกิดที่มีโอกาสเป็นซิฟิลิสต่ำ (Congenital syphilis less likely) ร่วมกับมีทั้งสองข้อดังต่อไปนี้ - มารดาได้รับการรักษาซิฟิลิสในระหว่างตั้งครรภ์ด้วย penicillin G regimen ครบถ้วนและมากกว่า 4 สัปดาห์ก่อนคลอดบุตร และ - ไม่มีหลักฐานของการกลับเป็นซ้ำหรือการติดเชื้อซิฟิลิสซ้ำ การส่งตรวจเพิ่มเติม ไม่ต้องส่งตรวจเพิ่มเติม การรักษา Benzathine penicillin G 50, 000 units/kg/dose IM single dose 4.

1 รายต่อเด็กเกิดมีชีพ 1, 000 ราย แต่ได้รับการรักษาเพียงร้อยละ 34 เท่านั้น จะเห็นว่าแม้ความชุกของซิฟิลิสในทารกแรกเกิดจะค่อนข้างต่ำ แต่แพทย์ในเวชปฏิบัติทั่วไปยังขาดความเข้าใจในการวินิจฉัยและการรักษาซิฟิลิสในทารกแรกเกิดที่เกิดจากหญิงตั้งครรภ์ที่มีผล serology test เป็นบวกต่อซิฟิลิส ส่งผลให้การรักษาไม่ครอบคลุมเท่าที่ควร การตรวจประเมิน การวินิจฉัยและการรักษาทารกแรกเกิดที่เกิดจากหญิงตั้งครรภ์ที่มีผล serology test เป็นบวกต่อซิฟิลิส แบ่งเป็น 4 กรณี ดังนี้ 1.

ผลเลือด non reactive แปลว่าอะไร โรคเอดส์กับ ผลตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวี

Venereal Disease Research Laboratory test (VDRL) เป็นการตรวจที่ใช้คัดกรองโรคซิฟิลิสทั้งชนิดปฐมภูมิ และทุติยภูมิ โดยปกติใช้ซีรั่มตรวจ แต่การตรวจนี้อาจจะใช้น้ำไขสันหลัง (Cerebrospinal fluid; CSF) ตรวจโดยเจาะหลังเพื่อตรวจซิฟิสิสระยะที่สาม (tertiary syphilis) วัตถุประสงค์ 1. เพื่อคัดกรองโรคซิฟิลิสทั้งชนิดปฐมภูมิและทุติยภูมิ 2. เพื่อดูว่าโรคซิฟิลิสเป็นชนิดปฐมภูมิหรือทุติยภูมิในขณะที่มีรอยโรคซิฟิลิสแล้ว (Syphilitic lesion) 3.
ตรวจสอบคุณสมบัติผู้มาตรวจเลือด หรือ การซักประวัติคนไข้นั่นเอง ในข้อนี้ขอให้คุณตอบตามความจริง เพราะจะเป็นประโยชน์กับตัวคุณมากกว่า 2. ลงชื่อรับรองว่า คุณเป็นผู้สมัครใจและยินยอมให้ตรวจเลือด ขั้นตอนนี้ต้องทำก่อนเข้ารับการตรวจ เนื่องจากการตรวจเลือดเอชไอวีต้องมาจากความสมัครใจและยินยอมให้ตรวจ หากไม่มีเอกสารการลงชื่อยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษรอาจจะผิดข้อกฎหมายได้ ดังนั้นก่อนการตรวจเลือดจะมีเจ้าหน้าที่หรือคุณพยาบาล มาอธิบายเกี่ยวกับกระบวนการตรวจเลือดและผลจากการตรวจเลือด ให้ผู้มาตรวจเข้าใจก่อน และให้ลงชื่อลงบนเอกสารแสดงความสมัครใจ ยินยอมให้ตรวจหาเชื้อเอชไอวี เพื่อแสดงว่าไม่ได้ถูกบังคับให้ตรวจ เป็นไปด้วยความสมัครใจ ยินยอม และเพื่อแสดงว่าผู้มาตรวจนั้นเข้าใจในกระบวนการตรวจจริงๆ 3. แนะนำ-ปรึกษาก่อนการตรวจ เพื่อให้ผู้มาตรวจนั้นมีความเข้าใจถึงผลเลือด และพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ ที่ทำให้เกิดการติดเชื้อ รวมถึงการดำเนินชีวิตหลังจากทราบผลตรวจ ชี้แนะให้รับรู้และมีการวางแผนเอาไว้ว่าควรจะทำอย่างไรต่อ ซึ่งเป็นสิ่งที่สำคัญมาก หากผลตรวจพบว่าไม่ติดเชื้อ ผู้มาตรวจจะได้หลบเลี่ยงความเสี่ยงได้ แต่หากพบว่าติดเชื้อก็จะได้ไม่รู้สึกเคว้งคว้างมากนัก เพราะอย่างน้อยก็ทราบว่าควรจะทำอย่างไรต่อไป ในขั้นตอนนี้จะทำให้ผู้มาตรวจได้ทบทวนและตัดสินใจอีกครั้งว่าจะดำเนินการตรวจต่อไปหรือไม่ 4.

โปรแกรมอ่านแปลผลการตรวจเลือดและปัสสาวะเบื้องต้น - คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

บ่งบอกทุกครั้ง

กรุณาป้อนข้อมูลเพื่อการแปลผล ชื่อ (Firstname) นามสกุล (Lastname) อายุ (ปี): Age (years) เพศ (แปลผลเฉพาะผู้ใหญ่) ชาย หญิง ส่วนสูง (เซนติเมตร) น้ำหนัก (กิโลกรัม) ดัชนีมวลกาย(BMI) อัตราหายใจ (ครั้ง/นาที) ชีพจร (ครั้ง/นาที) ค่าความดันโลหิต (มม. ปรอท) ตรวจนับเม็ดเลือดแบบสมบูรณ์ (Complete Blood Count) รายการตรวจ ค่าปกติ ผลตรวจ ความเข้มข้นเม็ดเลือดแดง (Hb. ) 12-18 เม็ดเลือดแดงอัดแน่น (Hct) 37-47 ปริมาตรเม็ดเลือดแดงโดยเฉลี่ย (MCV. ) 80. 00-100. 0 เกล็ดเลือด (Plt. ) 140, 000-400, 000 เม็ดเลือดขาว (WBC. ) 5000-10000 นิวโตรฟิว (Neut) 40-75 ลิมโฟไซต์ (Lmph. ) 20-50 โมโนไซต์ (Mono. ) 2-10 อีโอซิโนฟิล (Eo. ) 1-6 เบโซฟิล (Baso. ) 0-1 การตรวจปัสสาวะ (Urinalsis) ความถ่วงจำเพาะ (Sp. Gr. ) 1. 003-1. 3 โปรตีนไข่ขาว (Protien) - น้ำตาล (Sugar. ) เม็ดเลือดแดง (RBC. ) เยื่อบุทางเดินปัสสาวะ (Eqithelial. ) แบคทีเรีย (Bacteria. ) สารเสพติดในปัสสาวะ (RBC. ) ตรวจอุจจาระ พยาธิ (Larva-wom. ) ไข่พยาธิ (Ova. ) โปรโตซัว (Protozoa-hpf. ) หาปริมาณเลือดอุจจาระ (Occult Blood. ) ตรวจเลือดทางเคมีคลินิค 74-100 การทำงานของไต (BUN) 7.

  1. อุตรดิตถ์ ไป เลย 2
  2. บุกอาณาจักรโลก 10 000 ปี
  3. ผู้ชาย แพ้ท้อง อาการ covid
  4. มาค่ะ ภาษาจีน
  5. โรงแรม hop inn สงขลา
  6. เรดมี่โน๊ต 10 5g
  7. ปอ ล อ
  8. Apple id สมัคร
  9. พญานาค ลาย ไทย voathai
  10. การ แก้ไข ปัญหา ดินเปรี้ยว
  11. โรง พยาบาล ระนอง
  12. ฟ้าทะลายโจร กินตอนไหน
  13. เก๋ กับ ไป ร์ ท
  14. ทํา ข้าว ไข่ ข้น